เป็นเอกคอมพิวเตอร์ รับซ่อมคอม วางระบบ
วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
วันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วิธี Reset ตลับหมึก HP


* * ใช้ Reset ให้เครื่องยอมรับตลับหมึก อย่าเสี่ยงใช้ Reset ให้หมึกเต็ม
เพราะถ้าทำผิดขั้นตอนจะทำให้ตลับเสีย เครื่องเตือนหมึกหมดก็ไม่ต้องสนใจ reset ตราบใดที่ยังพิมพ์งานได้ครับ * *
** สำหรับเครื่องที่มีไฟเตือนหมึกหมด ไม่ต้องสนใจไฟกระพริบเตือน
(ปกติจะมีไฟเตือนตลับสีและตลับดำ) ให้สนใจเฉพาะไฟเตือน "!" **
อย่า reset โดยพร่ำเพรื่อครับ กรณีขึ้นตัว "E" ให้ตรวจเช็คดูก่อน
1. กระดาษหมดก็จะขึ้นตัว "E"
2. ลองเปิดฝา แล้วปิดใหม่ ตัว "E" อาจจะหายไปเอง
3. ถอดตลับออกมาเช็ดทำความสะอาด ที่ปุ่มทองแดงตัวตลับและปุ่มทองแดงในช่องรับตลับหมึก
4. ได้ทำการ Alignment ครบทุกขั้นตอนหรือไม่
เพราะทุกครั้งที่เครื่องพิมพ์หน้า Alignment ออกมา
ต้องเอาหน้านั้นวางคว่ำบนกระจกแล้วกดปุ่ม Scan 1 ครั้ง ถึงจะครบขั้นตอน
ปกติเวลาถอดตลับหมึกออกจากเครื่องพิมพ์ยี่ห้อ HP ต้องตัดไฟก่อนครับ
ไม่งั้นเครื่องพิมพ์จะจำ ID ของตลับหมึกไว้
หากไม่ตัดไฟก่อนถอดตลับ พอถอดเข้า ๆออก ๆไม่กี่รอบขึ้นไฟแดงไม่รับตลับหมึก
อย่าเพิ่งตกใจครับพี่น้อง ตลับไม่ได้เสีย ลองเอาไปใส่เครื่องอื่นใช้งานได้ฉลุย
แต่ถ้าจะใช้กับเครื่องเดิม ต้อง Reset ครับ โดยมีขั้นตอนดังนี้
สำหรับตลับสีดำ (เบอร์ 21, 27, 56, 58)
ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ โดยไม่จำเป็นต้องตัดไฟก่อนถอด+ใส่ ตลับนะครับ
1. ถอดตลับออกมาติด เทปตรงปุ่มทองแดง #1
2. ใส่ตลับเข้าเครื่องพิมพ์ เครื่องขึ้นไฟแดงไม่รับตลับหมึก
3. ถอดตลับออกมาติดเทปตรงปุ่มทองแดง #2 (ปุ่ม #1ก็ติดเทปอยู่ยังไม่ต้องแกะออก)
4. ใส่ตลับเข้าเครื่องพิมพ์ เครื่องขึ้นไฟแดงไม่รับตลับหมึก
5. ถอดตลับออกมา แกะเทป #1 #2 ออก
6. ใส่ตลับเข้าเครื่องพิมพ์ OK พร้อมใช้งาน
วิธี reset ตลับดำเบอร์ 74 จากคุณฟรอนเทียร์683
สำหรับตลับสี (เบอร์ 22, 28, 57)
1. ถอดตลับออกมาติด เทปตรงปุ่มทองแดง #1
2. ใส่ตลับเข้าเครื่องพิมพ์ เครื่องขึ้นไฟแดงไม่รับตลับหมึก
3. ถอดตลับออกมาติดเทปตรงปุ่มทองแดง #2 (ปุ่ม #1ก็ติดเทปอยู่ยังไม่ต้องแกะออก)
4. ใส่ตลับเข้าเครื่องพิมพ์ เครื่องขึ้นไฟแดงไม่รับตลับหมึก
5. ถอดตลับออกมา แกะเทป #1 #2 ออก
6. ใส่ตลับเข้าเครื่องพิมพ์ OK พร้อมใช้งาน
วิธี reset ตลับสีเบอร์ 75 จากคุณฟรอนเทียร์683
ข้อควรระวัง
=======
การถอดตลับเข้า-ออกบ่อย ๆ เวลาใส่อย่ากระแทกแรงนะครับ
ลายทองแดงบนตลับหมึก จะโดนกระแทกบุ๋มมากขึ้นเรื่อย ๆ
จนในที่สุดบุ๋มลึกไม่สัมผัสกับปุ่มทองแดงในเครื่อง ไม่ครบวงจร
เครื่องมองไม่เห็นตลับ ถ้าเอายางลบถูลายทองแดงไม่หายก็ต้องซื้อตลับใหม่
วิธี Hard Reset
============
วิธีนี้ก็สามารถ Reset ตลับหมึกให้กลับมาใช้ได้อีกครั้ง
ซึ่งทาง HP เปิดช่องทางแก้นี้ไว้ให้สำหรับเครื่องบางรุ่น
ทำให้ระบบป้องกันหมึกเติมของ HP ไม่โหดเกินไปนัก
1. เปิดเครื่อง เปิดฝาให้ตลับเลื่อนมาแล้วถอดตลับออกทั้ง 2 ตลับ
2. ปิดฝา ปิดเครื่อง ดึงปลั๊กไฟออก ปลั๊ก USB ออก
3. ตั้งเครื่องทิ้งไว้ 10 นาที หรือทั้งคืนก็ยิ่งดี เพื่อให้ไฟที่เลี้ยงหน่วยความจำหมดไป
4. เมื่อไฟหมด เครื่องก็ความจำเสื่อม ไม่สามารถจำเบอร์ ID ของตลับหมึกได้อีก
5. ประกอบเครื่องเข้าใหม่อีกครั้ง เหมือนตอนเพิ่งซื้อเครื่องมาใหม่ ๆ
6. เปิดเครื่อง เครื่องร้องเรียกหาตลับหมึกก็ใส่ตลับหมึกเข้าไป
ปล. บางรุ่นจะมีแบตกลมอยู่ข้างในเครื่อง ถ้าถอดแบตออกก็เท่ากับ reset ไปในตัว
วิธีใช้ตลับ 3 ชุด reset
=============
เครื่องพิมพ์ HP จะมีหน่วยความจำ สามารถจำ ID ของตลับได้ 2 ตลับเท่านั้น
ดังนั้นถ้าเราสามารถหาตลับจากที่อื่นมา 2 ชุด ก็สามารถใส่ล่อหลอกเครื่องได้
ตลับของเราที่เครื่องไม่ยอมรับ (เพราะจำ ID ได้) ใส่เป็นชุดที่ 3 ก็จะสามารถใช้งานได้อีกครั้ง
ปล. ผมเคยลองใช้วิธีนี้กับตลับเบอร์ 21-22 ได้ผลดี ไฟหายกระพริบ+เครื่องมองเป็นตลับใหม่+หมึกเต็ม
------------------------------------------------------------------------
อย่างไรก็ตาม พบว่าเครื่องรุ่นใหม่ที่ออกมาขายในท้องตลาด
เริ่มมีการล๊อคตลับแถม (Introductory) สามารถเติมหมึกได้ไม่กี่ครั้ง
พิมพ์งานได้ประมาณ 300 กว่าหน้า เครื่องจะล๊อคตลับแถม
แต่ถ้าผู้ใช้ตัดไฟก่อนถอด-ใส่ ตลับหมึกทุกครั้งไม่พลาดเลย
ก็สามารถเติมหมึกพิมพ์งานไปเรื่อย ๆ
ตลับแถมที่ถูกล๊อคไม่ได้เสีย แต่เครื่องที่ผ่านการพิมพ์งาน 300 กว่าหน้า
จะไม่รับตลับแถม
ซึ่งเท่าที่พบมีเครื่อง F2235 ซึ่งใช้ตลับ 21-22
เครื่อง F2480 ซึ่งใช้ตลับ 60
วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
การกำหนดค่า DNS Clients
ส่วนประกอบในการทำงานหนึ่งของ DNS คือ DNS client ซึ่งต้องระบุหมายเลขที่ใช้กับ DNS Serverการกำหนดค่าติดตั้ง Clientทำได้โดย- กำหนดค่า DNS computer ในแต่ละเครื่อง ซึ่งชื่อที่กำหนดเป็น FQDN- กำหนด Primary DNS suffix สำหรับเครื่อง- กำหนดรายการ DNS ที่ต้องการแก้ปัญหา กำหนดได้มากกว่าหนึ่งหมายเลข IPงานที่ทำในการกำหนดค่ามี- กำหนดค่า DNS suffix เพื่อกำหนดลำดับการค้นหา พิมพ์ได้สั้นเวลาเรียกใช้- กำหนดการเชื่อมต่อ DNS suffix กับการ์ที่ต่อในเครื่อง (อาจจะมีหลายใบ)- แก้ไข Dynamic DNS
การกำหนดชื่อเครื่อง DNS computerเราสามารถที่กำหนดไม่เกิน 63 ไบต์ จากเอกสาร RFC 1123 ค่าที่กำหนดเป็น A- Z, a-z, 0-9, -ชื่อที่กำหนดสามารถที่ใช้ใน NetBIOS ได้การกำหนดค่า Primary DNS Suffixสามารถกำหนดได้จาก System Properties > แท็บ Computer และเลือกที่ปุ่ม Changeนอกจากค่าชื่อเครื่องยังกำหนดค่าในการระบุ DNS suffix ได้ด้วยกำหนดค่าในรายการ DNS Server โดยหน้าจอดีฟอลท์กำหนดได้สองรายการคือ Preferred DNS Server/Alternate DNS Serverเราสามารถที่กำหนดได้มากกว่า 2 DNS Serverการทำงานแก้ปัญหาชื่อDNS Client จะติดต่อกับ DNS Server ใน 1 วินาที ถ้าไม่ตอบก็จะตรวจสอบที่ DNS server ตัวแรกอยู่อีก 2 วินาที ถ้าไม่ได้ก็จะเป็น 4 วินาที ถ้าไม่ได้ก็จะเป็น 8 วินาที ถ้ายังไม่ได้อีกก็จะหาที่เครื่องอื่นๆ โดยถ้าระบบตอบเป็นบวกก็จะยุติการค้นหาทันทีรายการค้นหา DNS Suffix เราสามารถที่กำหนด Default DNS suffix และกำหนดรายการเพิ่มได้ ซึ่งรายการที่กำหนดเพิ่ม เมื่อเราพิมพ์ชื่อสั้นไปก็จะนำชื่อไปต่อกับ Suffix ที่ระบุ โดยดูทีละรายการ
การกำหนดออปชั่นใน Dynamic Updateเราสามารถที่ใช้เครื่องทำการอัพเดตทั้ง A และ PTR ใน DNS client ของระบบปฏิบัติการ Windows 2000/XP/2003 หรือจะใช้ DHCP เข้าช่วยค่าที่อัพเดตอัตโนมัตินี้จะเกิดขึ้นเมื่อลูกข่ายตรวจสอบแล้วแมชกับ Zone name ที่อยู่ใน Preferred DNS หรือจะกล่าวว่าการอัพเดต FQDN ชื่อที่กำหนดใน Domain name หรือ Zone name ต้องตรงกันค่าดีฟอลท์ของ Client Updateโดยดีฟอลท์จะกำหนดเป็น Static IP Address และต้องระบุค่า Domain suffix ที่ลงทะเบียน ซึ่งระบบจะทำการอัพเดตทั้ง A ใน Forward กับ PTR ใน Reverse ด้วยDNS client ในระบบปฏิบัติการ windows NT, ME ต้องใช้ DHCP เข้าช่วยคำสั่งที่บังคับให้ทำการลงทะเบียนอัตโนมัติคือ ipconfig /registerdns
การดู และการเคลียร์ค่า DNS Resolver Cacheเราสามารถที่ให้ DNS client ทำการเคลียร์แคชโดยไปกำหนด Resolver cache และเช็กบ็อกซ์ก่นอที่ DNS Clients จะค้นหาการดูแคชเราสามารถที่ใช้คำสั่ง ipconfig /displaydns เพื่อโหลดค่าในไฟล์ Hosts และค่าที่เคยติดต่อการเคลียร์แคชใช้คำสั่ง ipconfig /flushdns เพื่อให้เริ่มการบริการใหม่ หรือรีสตาร์ท DNS Service ก็ได้
การกำหนดชื่อเครื่อง DNS computerเราสามารถที่กำหนดไม่เกิน 63 ไบต์ จากเอกสาร RFC 1123 ค่าที่กำหนดเป็น A- Z, a-z, 0-9, -ชื่อที่กำหนดสามารถที่ใช้ใน NetBIOS ได้การกำหนดค่า Primary DNS Suffixสามารถกำหนดได้จาก System Properties > แท็บ Computer และเลือกที่ปุ่ม Changeนอกจากค่าชื่อเครื่องยังกำหนดค่าในการระบุ DNS suffix ได้ด้วยกำหนดค่าในรายการ DNS Server โดยหน้าจอดีฟอลท์กำหนดได้สองรายการคือ Preferred DNS Server/Alternate DNS Serverเราสามารถที่กำหนดได้มากกว่า 2 DNS Serverการทำงานแก้ปัญหาชื่อDNS Client จะติดต่อกับ DNS Server ใน 1 วินาที ถ้าไม่ตอบก็จะตรวจสอบที่ DNS server ตัวแรกอยู่อีก 2 วินาที ถ้าไม่ได้ก็จะเป็น 4 วินาที ถ้าไม่ได้ก็จะเป็น 8 วินาที ถ้ายังไม่ได้อีกก็จะหาที่เครื่องอื่นๆ โดยถ้าระบบตอบเป็นบวกก็จะยุติการค้นหาทันทีรายการค้นหา DNS Suffix เราสามารถที่กำหนด Default DNS suffix และกำหนดรายการเพิ่มได้ ซึ่งรายการที่กำหนดเพิ่ม เมื่อเราพิมพ์ชื่อสั้นไปก็จะนำชื่อไปต่อกับ Suffix ที่ระบุ โดยดูทีละรายการ
การกำหนดออปชั่นใน Dynamic Updateเราสามารถที่ใช้เครื่องทำการอัพเดตทั้ง A และ PTR ใน DNS client ของระบบปฏิบัติการ Windows 2000/XP/2003 หรือจะใช้ DHCP เข้าช่วยค่าที่อัพเดตอัตโนมัตินี้จะเกิดขึ้นเมื่อลูกข่ายตรวจสอบแล้วแมชกับ Zone name ที่อยู่ใน Preferred DNS หรือจะกล่าวว่าการอัพเดต FQDN ชื่อที่กำหนดใน Domain name หรือ Zone name ต้องตรงกันค่าดีฟอลท์ของ Client Updateโดยดีฟอลท์จะกำหนดเป็น Static IP Address และต้องระบุค่า Domain suffix ที่ลงทะเบียน ซึ่งระบบจะทำการอัพเดตทั้ง A ใน Forward กับ PTR ใน Reverse ด้วยDNS client ในระบบปฏิบัติการ windows NT, ME ต้องใช้ DHCP เข้าช่วยคำสั่งที่บังคับให้ทำการลงทะเบียนอัตโนมัติคือ ipconfig /registerdns
การดู และการเคลียร์ค่า DNS Resolver Cacheเราสามารถที่ให้ DNS client ทำการเคลียร์แคชโดยไปกำหนด Resolver cache และเช็กบ็อกซ์ก่นอที่ DNS Clients จะค้นหาการดูแคชเราสามารถที่ใช้คำสั่ง ipconfig /displaydns เพื่อโหลดค่าในไฟล์ Hosts และค่าที่เคยติดต่อการเคลียร์แคชใช้คำสั่ง ipconfig /flushdns เพื่อให้เริ่มการบริการใหม่ หรือรีสตาร์ท DNS Service ก็ได้
การกระจาย DNS Servers
ในเครือข่ายส่วนตัวเราสามารถที่กำหนด Namespace เองได้ และเราอนุญาตให้ Clients ไปแก้ปัญหาชื่อบน Internet โดยไม่ต้องอายุการค้นหา DNS server ภายนอกโดยตรงได้การติดตั้ง DNS Server Serviceเราสามารถกำหนดค่า Windows Server 2003 และ Windows XP ให้เป็น DNS Client แต่ถ้าเป็น DNS server กำหนดได้เฉพาะใน Windows Server 2003 โดยเราต้องเพิ่มบริการ DNS Server ก่อน (จาก Add role ใน Manage Your server หรือใน Add/Remove Windows Components)เราสามารถที่ไปที่ Administrative Tools > DNS เพื่อกำหนดค่าและจัดการ DNS Server Services ได้การกำหนดค่าใน DNS Serverในการสร้างโซนใหม่จะมีขั้นตอนเป็น Wizard ที่เรียกว่า DNS Server Wizard ซึ่งจะมีการกำหนดบทบาท DNS Server และค่าที่จัดเก็บฐานข้อมูล เราสามารถที่เรียก DNS Server Wizard ได้ในตอนหลังโดยคลิกขวาที่ Computer Node ใน DNS Management
การสร้างโซนโซนมีสองประเภทคือ Forward lookup และ Reverse lookup โดยทั่วไปเราจะแก้ปัญหาจากชื่อโฮสต์เป็น IP Address เรียกว่าใช้ Forward lookup zone ถ้าจาก IP Address เป็นโฮสต์ก็จะเป็น Reverse lookup zoneการสร้างทั้ง Forward และ Reverse จะต้องกำหนดชื่อโซนก่อนชนิดโซนแบ่งเป็นบทบาทต่างๆดังนี้- Primary เป็นชนิดที่รองรับข้อมูล และการจัดการข้อมูลต่างๆ- Secondary เป็นโซนที่สำรองจาก Primary Zone และสามารถที่โอนถ่ายฐานข้อมูลจาก Primary หรือ Secondary อื่นได้- Stub เป็นการก๊อปปี้เฉพาะข้อมูลที่จำเป็นจาก Master zone
เข้าใจเกี่ยวกับชนิดเครื่อง Serverจะมีบทบาท Primary, Secondary, และ Caching- Primary Server แบ่งเป็นสองแบบ สามารถที่อัพเดตข้อมูลส่งไปที่ Secondary สามารถที่ป้องกันข้อมูลในการโอนถ่ายไฟล์โดยกำหนด Zone transfer - Standard Primary Zones เป็นเครื่องหนึ่งเดียวในโซน และรองรับมาตรฐาน - Active Directory-Integrated Zones เป็นการทำงานรองรับกับ Active Directory มีกลไก Fault- tolerance และจะถูกสร้างใน Active directory Domain controller- Secondary DNS สามารถดึงข้อมูลจาก Primary หรือ Secondary ได้ โดยเครื่องที่ดึงมาเป็นบทบาท Master ซึ่งถ้า Master ไม่ให้ Zone transfer ก็จะดึงข้อมูลมาไม่ได้- Stub servers เป็นการก๊อปปี้ข้อมูลอย่างย่อเฉพาะในรายการที่ได้รับอำนาจสำหรับ Master zone บ่อยครั้งจะใช้กับ parent zone เพื่อเก็บข้อมูลที่อัพเดต- Caching only เป็นการกำหนดให้ค้นหาอย่างเดียวไม่มีการกำหนดชื่อโดเมน เป็นเพียงให้ DNS client ชี้มา ค้นหาข้อมูลที่เก็บไว้อยู่ในฐานข้อมูลแคชในการตรวจสอบระบบของ Cache ถ้าไม่พบจะวิ่งไปที่ Root-level DNS Server โดยมีการค้นหาตามลำดับชั้นการตั้งค่าใน DNS Serverไฟล์แรกคือ BOOT จะเริ่มจากการสร้างไฟล์ฐานข้อมูลเรียกว่า Zone file (มี Primary, Secondary, Cache มีกี่ไฟล์ก็ได้ใน DNS Server) และใน Zone file ก็จะเก็บ Resource Record ที่นิยมใช้มี NS, A, CNAME, MX - เรคคอร์ดแรกเรียกว่า Start of Authority (SOA) มีการกำหนดข้อมูลไม่ว่าจะแคชของเวลา หรือ Serial อื่นๆ- NS คือ Name Server เป็นการระบุ DNS server- A คือ Address ที่กำหนดชื่อ Host name กับ IP Address ในเพิ่มสามารถที่กำหนดด้วยมือด้วยคำสั่ง Dnscmd หรือ DNS
หรือใช้ DNS client ใน Windows 2000/XP2003
หรือใช้ DHCP ช่วย- C-name คือการกำหนด Cannonical Name หรือชื่อเล่นต้องมีการกำหนด A ก่อน และใช้ชื่อมากเปลี่ยนเป็นชื่อเล่นอีกชื่อ- MX คือ Mail Exchange จะบอกเครื่องใดเป็นที่แลกเปลี่ยน Mail มีการกำหนดลำดับความสำคัญด้วย- PTR เป็นเรคคอร์ดที่ใช้ร่วมกับ Reverse lookup zones ตัวอย่างเช่น172.16.48.1 กับชื่อ server1.xyz.com ก็จะเป็นเรคคอร์ด1 PTR Server1.xyz.com ใน Reverse lookup zone- SRV เป็นเรคคอร์ด Service location ในระบุหน้าที่ของบริการด้วย โดย DNS จะให้ค่า Application servers ไปด้วยใน Windows Server 2003 Active Directory ใช้กับ Netlogon, LDAP เป็นต้น ตัวอย่างอยู่ที่โฟลเดอร์ _ldap._tcp.xyz.com เมื่อเข้าไปดูจะมี _ldap._tcp SRV 0 0 389 dc1.xyz.com
โดยค่าที่กำหนด 386 เป็นพอร์ตนั่นเองหมายเหตุ Reverse Lookup Zone เป็นการโดยใช้หมายเลข IP Address ที่มีการกลับหมายเลข Network ID ตัวอย่างเช่น 192.59.66.0 เป็น Network ID และกลับมาเป็น 66.59.192.in- addr.arpaตัวอย่างรูปแบบข้อมูลเรคคอร์ดOwner TTL Class Type RDATA
Owner เป็นชื่อของโฮสต์ หรือ DNS domainTTL เป็นเวลาที่กำหนดวินาที 32 บิตกำหนดค่าที่เก็บในแคชClass บอกค่า Protocol ที่ใช้ เช่น IN เป็น InternetType เป็นค่าบอกชนิดเช่น A หรือ SRV เป็นต้นRDATA เป็นค่าที่ปรับเปลี่ยนได้ และเป็นข้อมูล
เราสามารถที่ดูแคชใน DNS Server ได้โดยไปที่เมนู View > Advanced และคลิกเข้าไปดูในโฟลเดอณื Cached lookup ถ้าต้องการให้เริ่มใหม่ใช้คำสั่ง dnscmd /clearcacheการแก้ปัญหาเรื่องชื่อโดยใช้ไฟล์ Hostsเป็นการแก้ปัญหาเบื้องต้น ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้◦กำหนด IP Address กับ Hostname ในทุกๆเครื่อง ◦สร้างไฟล์ Hosts แม็บในแต่ละเครื่อง ◦วางตำแหน่งในแต่ละเครื่อง ตัวอย่างการสร้างไฟล์ ให้นำหมายเลข และชื่อ ถ้าต้องการเพิ่มคำแนะนำใช้ #การแก้ปัญหาเรื่องชื่อโดยใช้ DNS Nameมีการออกแบบที่มีการอัพเดตโดยในแต่ละ DNS เองมีการรองรับการร้องขอชื่อเป็น IP Address ดูขั้นตอน การทำงานของ DNS- ถ้า Name server สามารถหาชื่อเจอได้จากฐานข้อมูลตนเองจะส่งตอบกับ Client- ถ้าไม่พบในฐานข้อมูลตนเอง จะทำการค้นหาที่ DNS อื่น และส่งไปให้ Client ทราบDNS Server สามารถกำหนดได้หลายเครื่อง เพื่อกระจายโหลดองค์กร โดยลูกข่ายสามารถติดต่อกับ DNS Server ตัวใดก็ได้ DNS namespace จะมีการแบ่งทำงานเป็นระดับชั้น ในกรณีที่ระบบวิ่งหาจะไปที่ (.) หรือ Root และต่อไปเป็นชื่อโดเมนที่เรียกว่า Top Level domain (TLDs) ถ้ามีชื่อประเทศก็จะเป็น .th (Thailand) และ .jp (Japan) เป็นต้นระบบการหาชื่อจะทำการตรวจสอบเป็นทีละชั้นกระบวนการทำงาน จะมีขั้นตอนการทำงานต่างๆข้อมูลเหล่านี้หาดูได้จาก www.icann.org (ย่อจาก Internet Corporation For Assigned Names and Numbers)การลงทะเบียนในโดเมนการลงทะเบียนชื่อให้ไปจดที่ ICANN ซึ่งเข้าไปใน www.internic.net จะได้ .com, .net, .gov และอื่นๆถ้าต้องการลงทะเบียนในประเทศไทยไปที่ www.thnic.net จะได้ .th
การตั้งค่าใน DNS Clientเราสามารถกำหนดค่าคุณสมบัติได้จาก Internet Protocol (TCP/IP) Propertiesการใช้เครื่องมือ DNSมีทั้งการใช้เครื่องมือตรวจสอบ และการใช้งาน เช่น Ping, FTP, Browser, Telnet เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดสามารถเรียกใช้ได้ทั้ง FQDN และ IP Address ก็ได้การตรวจสอบชื่อด้วยการ Pingตัวอย่าง Ping 192.1.14.2 หรือใช้ชื่อ Ping williepc.remotenet.com แต่ถ้าเป็นชื่อต้องกำหนด DNS ด้วยการตรวจสอบชื่อด้วยคำสั่ง Nslookupเป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบโดยมีทั้ง Batch mode และ Interactiveตัวอยางการใช้งานเช่น Nslookup
พิมพ์ Help ถ้าต้องการดูคำช่วยเหลือLs –d ชื่อโดเมนถ้าต้องการเปลี่ยนเครื่อง Server ให้ใช้คำสั่ง server ชื่อFQDN หรือ IPAddressDynamic DNSในระบบ BIND 8.1.2 รองรับการทำงาน Dynamic Update รวมถึง Windows 2000 ด้วยเช่นกัน ซึ่ง DHCP สามารถแจกหมายเลข IP Address พร้อมกับอัพเดตชื่อใน DNS ได้
การสร้างโซนโซนมีสองประเภทคือ Forward lookup และ Reverse lookup โดยทั่วไปเราจะแก้ปัญหาจากชื่อโฮสต์เป็น IP Address เรียกว่าใช้ Forward lookup zone ถ้าจาก IP Address เป็นโฮสต์ก็จะเป็น Reverse lookup zoneการสร้างทั้ง Forward และ Reverse จะต้องกำหนดชื่อโซนก่อนชนิดโซนแบ่งเป็นบทบาทต่างๆดังนี้- Primary เป็นชนิดที่รองรับข้อมูล และการจัดการข้อมูลต่างๆ- Secondary เป็นโซนที่สำรองจาก Primary Zone และสามารถที่โอนถ่ายฐานข้อมูลจาก Primary หรือ Secondary อื่นได้- Stub เป็นการก๊อปปี้เฉพาะข้อมูลที่จำเป็นจาก Master zone
เข้าใจเกี่ยวกับชนิดเครื่อง Serverจะมีบทบาท Primary, Secondary, และ Caching- Primary Server แบ่งเป็นสองแบบ สามารถที่อัพเดตข้อมูลส่งไปที่ Secondary สามารถที่ป้องกันข้อมูลในการโอนถ่ายไฟล์โดยกำหนด Zone transfer - Standard Primary Zones เป็นเครื่องหนึ่งเดียวในโซน และรองรับมาตรฐาน - Active Directory-Integrated Zones เป็นการทำงานรองรับกับ Active Directory มีกลไก Fault- tolerance และจะถูกสร้างใน Active directory Domain controller- Secondary DNS สามารถดึงข้อมูลจาก Primary หรือ Secondary ได้ โดยเครื่องที่ดึงมาเป็นบทบาท Master ซึ่งถ้า Master ไม่ให้ Zone transfer ก็จะดึงข้อมูลมาไม่ได้- Stub servers เป็นการก๊อปปี้ข้อมูลอย่างย่อเฉพาะในรายการที่ได้รับอำนาจสำหรับ Master zone บ่อยครั้งจะใช้กับ parent zone เพื่อเก็บข้อมูลที่อัพเดต- Caching only เป็นการกำหนดให้ค้นหาอย่างเดียวไม่มีการกำหนดชื่อโดเมน เป็นเพียงให้ DNS client ชี้มา ค้นหาข้อมูลที่เก็บไว้อยู่ในฐานข้อมูลแคชในการตรวจสอบระบบของ Cache ถ้าไม่พบจะวิ่งไปที่ Root-level DNS Server โดยมีการค้นหาตามลำดับชั้นการตั้งค่าใน DNS Serverไฟล์แรกคือ BOOT จะเริ่มจากการสร้างไฟล์ฐานข้อมูลเรียกว่า Zone file (มี Primary, Secondary, Cache มีกี่ไฟล์ก็ได้ใน DNS Server) และใน Zone file ก็จะเก็บ Resource Record ที่นิยมใช้มี NS, A, CNAME, MX - เรคคอร์ดแรกเรียกว่า Start of Authority (SOA) มีการกำหนดข้อมูลไม่ว่าจะแคชของเวลา หรือ Serial อื่นๆ- NS คือ Name Server เป็นการระบุ DNS server- A คือ Address ที่กำหนดชื่อ Host name กับ IP Address ในเพิ่มสามารถที่กำหนดด้วยมือด้วยคำสั่ง Dnscmd หรือ DNS
หรือใช้ DNS client ใน Windows 2000/XP2003
หรือใช้ DHCP ช่วย- C-name คือการกำหนด Cannonical Name หรือชื่อเล่นต้องมีการกำหนด A ก่อน และใช้ชื่อมากเปลี่ยนเป็นชื่อเล่นอีกชื่อ- MX คือ Mail Exchange จะบอกเครื่องใดเป็นที่แลกเปลี่ยน Mail มีการกำหนดลำดับความสำคัญด้วย- PTR เป็นเรคคอร์ดที่ใช้ร่วมกับ Reverse lookup zones ตัวอย่างเช่น172.16.48.1 กับชื่อ server1.xyz.com ก็จะเป็นเรคคอร์ด1 PTR Server1.xyz.com ใน Reverse lookup zone- SRV เป็นเรคคอร์ด Service location ในระบุหน้าที่ของบริการด้วย โดย DNS จะให้ค่า Application servers ไปด้วยใน Windows Server 2003 Active Directory ใช้กับ Netlogon, LDAP เป็นต้น ตัวอย่างอยู่ที่โฟลเดอร์ _ldap._tcp.xyz.com เมื่อเข้าไปดูจะมี _ldap._tcp SRV 0 0 389 dc1.xyz.com
โดยค่าที่กำหนด 386 เป็นพอร์ตนั่นเองหมายเหตุ Reverse Lookup Zone เป็นการโดยใช้หมายเลข IP Address ที่มีการกลับหมายเลข Network ID ตัวอย่างเช่น 192.59.66.0 เป็น Network ID และกลับมาเป็น 66.59.192.in- addr.arpaตัวอย่างรูปแบบข้อมูลเรคคอร์ดOwner TTL Class Type RDATA
Owner เป็นชื่อของโฮสต์ หรือ DNS domainTTL เป็นเวลาที่กำหนดวินาที 32 บิตกำหนดค่าที่เก็บในแคชClass บอกค่า Protocol ที่ใช้ เช่น IN เป็น InternetType เป็นค่าบอกชนิดเช่น A หรือ SRV เป็นต้นRDATA เป็นค่าที่ปรับเปลี่ยนได้ และเป็นข้อมูล
เราสามารถที่ดูแคชใน DNS Server ได้โดยไปที่เมนู View > Advanced และคลิกเข้าไปดูในโฟลเดอณื Cached lookup ถ้าต้องการให้เริ่มใหม่ใช้คำสั่ง dnscmd /clearcacheการแก้ปัญหาเรื่องชื่อโดยใช้ไฟล์ Hostsเป็นการแก้ปัญหาเบื้องต้น ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้◦กำหนด IP Address กับ Hostname ในทุกๆเครื่อง ◦สร้างไฟล์ Hosts แม็บในแต่ละเครื่อง ◦วางตำแหน่งในแต่ละเครื่อง ตัวอย่างการสร้างไฟล์ ให้นำหมายเลข และชื่อ ถ้าต้องการเพิ่มคำแนะนำใช้ #การแก้ปัญหาเรื่องชื่อโดยใช้ DNS Nameมีการออกแบบที่มีการอัพเดตโดยในแต่ละ DNS เองมีการรองรับการร้องขอชื่อเป็น IP Address ดูขั้นตอน การทำงานของ DNS- ถ้า Name server สามารถหาชื่อเจอได้จากฐานข้อมูลตนเองจะส่งตอบกับ Client- ถ้าไม่พบในฐานข้อมูลตนเอง จะทำการค้นหาที่ DNS อื่น และส่งไปให้ Client ทราบDNS Server สามารถกำหนดได้หลายเครื่อง เพื่อกระจายโหลดองค์กร โดยลูกข่ายสามารถติดต่อกับ DNS Server ตัวใดก็ได้ DNS namespace จะมีการแบ่งทำงานเป็นระดับชั้น ในกรณีที่ระบบวิ่งหาจะไปที่ (.) หรือ Root และต่อไปเป็นชื่อโดเมนที่เรียกว่า Top Level domain (TLDs) ถ้ามีชื่อประเทศก็จะเป็น .th (Thailand) และ .jp (Japan) เป็นต้นระบบการหาชื่อจะทำการตรวจสอบเป็นทีละชั้นกระบวนการทำงาน จะมีขั้นตอนการทำงานต่างๆข้อมูลเหล่านี้หาดูได้จาก www.icann.org (ย่อจาก Internet Corporation For Assigned Names and Numbers)การลงทะเบียนในโดเมนการลงทะเบียนชื่อให้ไปจดที่ ICANN ซึ่งเข้าไปใน www.internic.net จะได้ .com, .net, .gov และอื่นๆถ้าต้องการลงทะเบียนในประเทศไทยไปที่ www.thnic.net จะได้ .th
การตั้งค่าใน DNS Clientเราสามารถกำหนดค่าคุณสมบัติได้จาก Internet Protocol (TCP/IP) Propertiesการใช้เครื่องมือ DNSมีทั้งการใช้เครื่องมือตรวจสอบ และการใช้งาน เช่น Ping, FTP, Browser, Telnet เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดสามารถเรียกใช้ได้ทั้ง FQDN และ IP Address ก็ได้การตรวจสอบชื่อด้วยการ Pingตัวอย่าง Ping 192.1.14.2 หรือใช้ชื่อ Ping williepc.remotenet.com แต่ถ้าเป็นชื่อต้องกำหนด DNS ด้วยการตรวจสอบชื่อด้วยคำสั่ง Nslookupเป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบโดยมีทั้ง Batch mode และ Interactiveตัวอยางการใช้งานเช่น Nslookup
พิมพ์ Help ถ้าต้องการดูคำช่วยเหลือLs –d ชื่อโดเมนถ้าต้องการเปลี่ยนเครื่อง Server ให้ใช้คำสั่ง server ชื่อFQDN หรือ IPAddressDynamic DNSในระบบ BIND 8.1.2 รองรับการทำงาน Dynamic Update รวมถึง Windows 2000 ด้วยเช่นกัน ซึ่ง DHCP สามารถแจกหมายเลข IP Address พร้อมกับอัพเดตชื่อใน DNS ได้
ความเข้าใจ DNS ในเครือข่าย Windows Server 2003
Name resolution คืออะไรใน TCP/IP เป็นเครือข่ายที่นิยมใช้กันอย่างมากซึ่งผู้เรียนรู้ว่าใช้ระบบ IP Address และวิธีที่สะดวกในการติดต่อระหว่างกันที่ดีกว่าหมายเลข IP Address คือการใช้ระบบรายชื่อ ที่เรียกว่า hostnameในระบบแรกๆจะมีการใช้ไฟล์ Hosts ซึ่งจะมีการใช้ Hosts.txt ที่เก็บไว้ส่วนกลางร่วมกันผู้ออกแบบคือ SRI-NIC (Standford Research Institute Network Information Center)ชื่อที่ใช้ Fully Qualify Domain Name หรือ FQDN มีการใช้ชื่อ Hostname+Domain Nameในระบบของไฟล์ที่ดีรองรับหลายล้านโหนดต้องมีการแก้ปัญหาดังนี้- กระจายความรับผิดชอบใน DNS- และกำหนดในแก้ปัญหาชื่อใน Local กันเองสิ่งทั้งสองเรียกว่า Domain Name System (DNS) เป็นมาตรฐาน BIND (Bekeley Internet Name Daemon)เข้าดูรายละเอียดที่ http://www.isc.orgโครงสร้าง DNSสิ่งที่ต้องรู้มี- DNS Namespace เป็นรูปแบบชื่อโฮสต์ซึ่งจะเริ่มจาก Root คือ . แต่ต่อชื่อโดเมนจากหลังมาหน้าจนถึงชื่อโฮสต์- Domain Names เป็นชื่อที่ประกาศในกลุ่มใช้ - Internet Domain Namespace เป็นชื่อที่ขอจากผู้กำหนดชื่อเช่น ICANN หรือ thnic เราสามารถที่กำหนดในระดับชั้นบนสุด ซึ่งจัดการโดย ICANN และกำหนดต่อมาตามผู้ดูแล- โดเมนตามองค์กร ซึ่งจะมีโค้ดสามอักขระเช่น .com, .net- โดเมนตามภูมิประเทศ จะกำหนดตามประเทศเช่น .jp คือ Japan หรือ .th คือ Thailand เป็นต้น- การใช้โดเมน Reverse เป็นชื่อที่กำหนดย้อนกับหมายเลข IP Address ที่ใช้ โดยส่วนใหญ่เราจะใช้แก้ปัญหาจากชื่อโฮสต์เป็นหมายเลข IP Address แต่ถ้า Reverse จะนำ IP address ไปหาชื่อโฮสต์Private Domain Namespaceเป็นชื่อที่กำหนดขึ้นเองใช้ในองค์กร สามารถที่กำหนดอิสระจากชื่อในอินเตอร์เน็ต
ส่วนประกอบ DNSประกอบด้วยDNS Server เป็นเครื่องที่ดูแลระบบรายชื่อ DNS Clientsต้องระบุเรียกใช้ เราสามารถกำหนดใน Windows Server 2003 ได้เป็น - Active Directory Integrated
- Standard Primary
- Standard Secondary
DNS Zones เป็นชื่อที่กำหนดซึ่งมีรูปแบบต่อเนื่อง และเราสามารถที่กำหนดโดเมนย่อยๆลงมาได้DNS Resolvers เป็นเครื่องที่รองรับ DNS protocol ใช้ค้นหาข้อมูลจาก DNS Server ตัวอย่างเช่น DNS clientเรคคอร์ดที่กำหนด เป็นเรคอร์ดที่อยู่ใน DNS นิยมใช้มี Host address (A), alias (CNAME), Mail Exchange (MX) ดูข้อมูลเพิ่มจากเอกสาร Help ใน Windows Server 2003
เข้าใจเกี่ยวกับ DNS Query ทำงานอย่างไรเมื่อลูกข่ายส่งไปถาม DNS Server จะมีข้อมูลสามชุดดังนี้- DNS domain name พิจารณาจาก FQDN- ชนิดที่ค้นหา โดยดูที่เรคคอร์ด- คลาสที่รองรับสำหรับ DNS domain name (โดยส่วนใหญ่เป็น Internet คือ [IN])วิธีการแก้ปัญหาชื่อ DNSจะมีการส่งคำร้องจาก DNS Client ไปหาข้อมูลใน DNS Server ซึ่งจะมีการตรวจสอบในแคช และถ้ามีการติดต่อเครื่องอื่นๆจะต้องทำงานในรูปแบบ Recursionขั้นตอนการค้นหามีสองส่วน- ชื่อที่ค้นหาจะดูที่ลูกข่าย และส่งไปแก้ปัญหา- เมื่อแก้ปัญหาที่ลูกข่ายไม่ได้ก็จะส่งมายัง DNS Server
ลูกข่ายจะค้นหาที่เครื่องก่อนโดยดูในแคชที่มีอยู่ และส่งไปดูที่ไฟล์ Hosts ถ้าไม่มีจะหาใน Server ซึ่งจะมีแคชของ Server และชื่อใน Zones นั้นๆถ้าไม่มีก็จะเป็นการติดต่อระหว่าง Server กับ Server ขั้นตอนนี้เรียกว่า Recursion Local cache จะเก็บไว้อยู่สองที่คือในไฟล์ Hosts กับเรคคอร์ดที่ตอบมาก่อนหน้าการค้นหาจากเครื่องแม่ข่ายDNS client จะตรวจสอบในลำดับของ DNS Server แล้วถ้าพบว่าทำงานใน Preferred DNS server ก็จะค้นหาจากที่นั่น ถ้าไม่ทำงานก็จะค้นหาต่อมาที่ DNS ลำดับถัดไป เครื่อง DNS Server จะตอบรับอัตโนมัติกับลูกข่ายที่เข้ามาร้องขอ และจะดูเรคคอร์ดที่ส่งมาตรวจสอบ เปรียบเทียบกับฐานข้อมูล DNS ถ้าไม่มีใน Zone ก็จะส่งต่อไปยังเครื่องอื่นๆ ซึ่งเรียกกลไกนี้ว่า Recursion โดยจะไปสอบามกับ Root hints
เครื่องที่อยู่ที่ root และส่งต่อไปยัง Domain namespace tree อื่นๆ โดยค่า root hints นี้อยู่ที่ไฟล์ Windows\System32\dns เราสามารถแก้ไขให้กำหนดชื่อ Root hints กับเครื่องภายในได้ถ้า Recursion ถูกไม่อนุญาต ลูกข่ายจะติดต่อไปโดยตรงที่ root hint จาก DNS server แทน ซึ่งเรียกว่า Iteration และทำแบบนี้กับ DNS server ต่างๆตัวอย่างการค้นหา1. เมื่อมีการหาชื่อ FQDN จากแอพพลิเคชั่นบนเครื่องลูกข่าย และลูกข่ายกำหนดหาใน Preferred DNS server 2. ไม่มีอยู่ใน DNS Server ก็จะติดต่อไปยังเครื่องที่รับผิดชอบใน Root โดยไล่ที่ละลำดับจนเจอ DNS Server ที่รู้จักกับโดเมนที่ค้นหา3. เครื่องที่พบเรคคอร์ดจะส่งตรงไปยัง DNS server แรกและเครื่องที่เป็น Preferred DNS server ก็จะตอบกลับไปยังลูกข่ายชนิดของการตอบกลับจะมีหลักๆดังนี้- ตอบกลับเป็น Authoritative เป็นการตอบกลับเป็นบวก และส่งไปที่ลูกข่าย และส่งค่าบิต autority ที่กำหนดใน DNS message ซึ่งค่าที่ส่งไปนี้ถูกเก็บใน Server กับอำนาจตรงในการค้นหาชื่อ- ตอบกลับเป็นบวก ส่งตอบกลับค่าที่พบ- ตอบกลับสิ่งที่เกี่ยวข้อง บรรจุค่าอื่นๆเพิ่มนอกเหนือจากชื่อ หรือชนิดในการค้นหา เช่น www เป็นเพียง CNAME - ตอบกลับเป็นลบ ไม่พบชื่อที่ค้นหา โดยตอบจากไม่มีชื่อใน DNS หรือไม่มีเรคคอร์ดในชื่อที่ระบุเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของแคชทั้ง DNS Server และ Client มีแคชทั้งคู่แคชของ DNS Client จะเกิดขึ้นจากไฟล์ Hosts และชื่อที่เคยติดต่อก่อนหน้าแคชของ DNS Server ทำหน้าที่เป็นที่เก็บชั่วคราวของเรคคอร์ด ซึ่งจะเก็บข้อมูลเพื่อช่วยตอบให้กับลูกข่าย DNS Server cache เคลียร์เมื่อ DNS Server service ยุติ หรือเราจะเคลียร์ด้วยคำสั่ง Dnscmd /clearcacheค่า Time To live (TTL) เป็นค่าที่มีอยู่ในทุกเรคคอร์ดของทรัพยากร ซึ่งระบบ DNS resolver cache และ DNS server cache ใช้เป็นค่าที่จัดเก็บและพิจารณาการหมดอายุ เช่น TTL เป็น 3600 วินาที หรือหนึ่งชั่วโมงเราสามารถกำหนดแคชเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาชื่อในอินเตอร์เน็ต โดยยิ่งกำหนดมาเท่าไรยิ่งทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้น แต่การอัพเดตข้อมูลใหม่จะช้าลง
ส่วนประกอบ DNSประกอบด้วยDNS Server เป็นเครื่องที่ดูแลระบบรายชื่อ DNS Clientsต้องระบุเรียกใช้ เราสามารถกำหนดใน Windows Server 2003 ได้เป็น - Active Directory Integrated
- Standard Primary
- Standard Secondary
DNS Zones เป็นชื่อที่กำหนดซึ่งมีรูปแบบต่อเนื่อง และเราสามารถที่กำหนดโดเมนย่อยๆลงมาได้DNS Resolvers เป็นเครื่องที่รองรับ DNS protocol ใช้ค้นหาข้อมูลจาก DNS Server ตัวอย่างเช่น DNS clientเรคคอร์ดที่กำหนด เป็นเรคอร์ดที่อยู่ใน DNS นิยมใช้มี Host address (A), alias (CNAME), Mail Exchange (MX) ดูข้อมูลเพิ่มจากเอกสาร Help ใน Windows Server 2003
เข้าใจเกี่ยวกับ DNS Query ทำงานอย่างไรเมื่อลูกข่ายส่งไปถาม DNS Server จะมีข้อมูลสามชุดดังนี้- DNS domain name พิจารณาจาก FQDN- ชนิดที่ค้นหา โดยดูที่เรคคอร์ด- คลาสที่รองรับสำหรับ DNS domain name (โดยส่วนใหญ่เป็น Internet คือ [IN])วิธีการแก้ปัญหาชื่อ DNSจะมีการส่งคำร้องจาก DNS Client ไปหาข้อมูลใน DNS Server ซึ่งจะมีการตรวจสอบในแคช และถ้ามีการติดต่อเครื่องอื่นๆจะต้องทำงานในรูปแบบ Recursionขั้นตอนการค้นหามีสองส่วน- ชื่อที่ค้นหาจะดูที่ลูกข่าย และส่งไปแก้ปัญหา- เมื่อแก้ปัญหาที่ลูกข่ายไม่ได้ก็จะส่งมายัง DNS Server
ลูกข่ายจะค้นหาที่เครื่องก่อนโดยดูในแคชที่มีอยู่ และส่งไปดูที่ไฟล์ Hosts ถ้าไม่มีจะหาใน Server ซึ่งจะมีแคชของ Server และชื่อใน Zones นั้นๆถ้าไม่มีก็จะเป็นการติดต่อระหว่าง Server กับ Server ขั้นตอนนี้เรียกว่า Recursion Local cache จะเก็บไว้อยู่สองที่คือในไฟล์ Hosts กับเรคคอร์ดที่ตอบมาก่อนหน้าการค้นหาจากเครื่องแม่ข่ายDNS client จะตรวจสอบในลำดับของ DNS Server แล้วถ้าพบว่าทำงานใน Preferred DNS server ก็จะค้นหาจากที่นั่น ถ้าไม่ทำงานก็จะค้นหาต่อมาที่ DNS ลำดับถัดไป เครื่อง DNS Server จะตอบรับอัตโนมัติกับลูกข่ายที่เข้ามาร้องขอ และจะดูเรคคอร์ดที่ส่งมาตรวจสอบ เปรียบเทียบกับฐานข้อมูล DNS ถ้าไม่มีใน Zone ก็จะส่งต่อไปยังเครื่องอื่นๆ ซึ่งเรียกกลไกนี้ว่า Recursion โดยจะไปสอบามกับ Root hints
เครื่องที่อยู่ที่ root และส่งต่อไปยัง Domain namespace tree อื่นๆ โดยค่า root hints นี้อยู่ที่ไฟล์ Windows\System32\dns เราสามารถแก้ไขให้กำหนดชื่อ Root hints กับเครื่องภายในได้ถ้า Recursion ถูกไม่อนุญาต ลูกข่ายจะติดต่อไปโดยตรงที่ root hint จาก DNS server แทน ซึ่งเรียกว่า Iteration และทำแบบนี้กับ DNS server ต่างๆตัวอย่างการค้นหา1. เมื่อมีการหาชื่อ FQDN จากแอพพลิเคชั่นบนเครื่องลูกข่าย และลูกข่ายกำหนดหาใน Preferred DNS server 2. ไม่มีอยู่ใน DNS Server ก็จะติดต่อไปยังเครื่องที่รับผิดชอบใน Root โดยไล่ที่ละลำดับจนเจอ DNS Server ที่รู้จักกับโดเมนที่ค้นหา3. เครื่องที่พบเรคคอร์ดจะส่งตรงไปยัง DNS server แรกและเครื่องที่เป็น Preferred DNS server ก็จะตอบกลับไปยังลูกข่ายชนิดของการตอบกลับจะมีหลักๆดังนี้- ตอบกลับเป็น Authoritative เป็นการตอบกลับเป็นบวก และส่งไปที่ลูกข่าย และส่งค่าบิต autority ที่กำหนดใน DNS message ซึ่งค่าที่ส่งไปนี้ถูกเก็บใน Server กับอำนาจตรงในการค้นหาชื่อ- ตอบกลับเป็นบวก ส่งตอบกลับค่าที่พบ- ตอบกลับสิ่งที่เกี่ยวข้อง บรรจุค่าอื่นๆเพิ่มนอกเหนือจากชื่อ หรือชนิดในการค้นหา เช่น www เป็นเพียง CNAME - ตอบกลับเป็นลบ ไม่พบชื่อที่ค้นหา โดยตอบจากไม่มีชื่อใน DNS หรือไม่มีเรคคอร์ดในชื่อที่ระบุเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของแคชทั้ง DNS Server และ Client มีแคชทั้งคู่แคชของ DNS Client จะเกิดขึ้นจากไฟล์ Hosts และชื่อที่เคยติดต่อก่อนหน้าแคชของ DNS Server ทำหน้าที่เป็นที่เก็บชั่วคราวของเรคคอร์ด ซึ่งจะเก็บข้อมูลเพื่อช่วยตอบให้กับลูกข่าย DNS Server cache เคลียร์เมื่อ DNS Server service ยุติ หรือเราจะเคลียร์ด้วยคำสั่ง Dnscmd /clearcacheค่า Time To live (TTL) เป็นค่าที่มีอยู่ในทุกเรคคอร์ดของทรัพยากร ซึ่งระบบ DNS resolver cache และ DNS server cache ใช้เป็นค่าที่จัดเก็บและพิจารณาการหมดอายุ เช่น TTL เป็น 3600 วินาที หรือหนึ่งชั่วโมงเราสามารถกำหนดแคชเพื่อช่วยในการแก้ปัญหาชื่อในอินเตอร์เน็ต โดยยิ่งกำหนดมาเท่าไรยิ่งทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานดีขึ้น แต่การอัพเดตข้อมูลใหม่จะช้าลง
ความเข้าใจการแก้ปัญหาชื่อใน Windows Server 2003
เครือข่ายปัจจุบันมีความจำเป็นที่ต้องมีกลไกการแก้ปัญหาชื่อโฮสต์ กับ IP addresses ซึ่งในการแก้ปัญหาชื่อโฮสต์จะมีทั้ง NetBIOS และ DNS เปรียบเทียบระหว่าง DNS กับ NetBIOSในระบบปฏิบัติการ Windows Server 2003 มีการใช้ระบบชื่อ DNS มาใช้เป็นหลัก ส่วน NetBIOS เป็นระบบชื่อที่รองรับสำรอง เพื่อให้ติดต่อกับระบบปฏิบัติการเก่า ซึ่งใช้เทคนิค Universal Naming Convention (UNC) addresses เช่น \\Computer1\share1การเปรียบเทียบชื่อคอมพิวเตอร์เมื่อติดตั้ง Windows Server 2003 จะมีการกำหนดชื่อ และแก้ไขได้ใน System Properties ซึ่งชื่อนี้จะรองรับทั้ง DNS และ NetBIOS DNS namespace จะมีการกำหนดเป็นลำดับชั้น ชื่อเต็มเรียกว่า Fully qualified domain name (FQDN) ส่วนใน NetBIOS จะไม่มีลำดับชั้น ชื่อที่กำหนดต้องไม่ซ้ำกันสรุปชนิดชื่อต่างๆ และส่วนประกอบชื่อชนิดชื่อ คำอธิบาย
NetBIOS name เป็นชื่อที่ไม่ซ้ำกัน และแก้ปัญหาชื่อกับ IP address สามารถที่ใช้การบรอดคลาส โดยชื่อที่กำหนดไม่เกิน 15 อักขระ และมี 16 คุณลักษณะ โดยดีฟอลท์จะกำหนด 15 อันดับแรก และบิตที่ 16 เป็นการบอกลักษณะ
Host name เป็นชื่อที่ใช้ในการระบุ FQDN
Primary DNS suffix ทุกเครื่องใน Windows Server 2003 network จะกำหนด Primary DNS suffix ซึ่งจะถูกระบุบนแท็บ Computer Name หรือที่เรียกว่า Primary domain name และ domain name
Connection-specific DNS suffix เป็นการกำหนดชื่อต่อท้าย ที่กำหนดขึ้นเองในการ์ดเครือข่าย หรือเรียกว่า adapter DNS suffix
FQDN เป็นชื่อที่ไม่ซ้ำกันในเครือข่าย โดยใช้ Host name และ Primary DNS suffix แยกด้วยจุด
Full computer name เป็นชื่อเต็มของ FQDN ซึ่งแตกต่างกันตรงที่ว่าจะแยกกันระหว่ง host name และ primary DNS suffix
การเปรียบเทียบของ NetBIOS และ DNS Names NetBIOS Computer name DNS Computer Name
ชนิด ราบ ลำดับชั้น
ข้อบังคับอักขระ รองรับ Unicode, เลข, ช่องว่าง สัญลักษณ์ ! @ # $ % ^ & ' ) ( . - _ { } ~ A-Z,a-z, 0-9,- , จุด
ความยาว 15 อักขระ 63 ไบต์ต่อเลเบล และ 255 ไบต์ต่อ FQDN
บริการชื่อ WINS
NetBIOS broadcast
ไฟล์ Lmhosts DNS
ไฟล์ Hosts
การเปรียบเทียบขั้นตอนการแก้ปัญหาชื่อDNS แก้ปัญหาชื่อโดย ดูจากไฟล์ hosts > ใช้ DNSNetBIOS แก้ปัญหาชื่อโดย ดูจาก NetBIOS name cache > WINS > Broadcasts > และไฟล์ Lmhostsไฟล์ Hosts กับ Lmhosts เก็บไว้ที่ Windows\System32\drivers\etc
เราจำเป็นที่ต้องใช้ DNS เมื่อใด- เมื่อใช้โดเมน Windows 2000 และ Windows Server 2003 เนื่องจากตำแหน่งของ Active directory ใช้ DNS เป็นกลไกในการแจ้ง- สำหรับเข้าใช้ Internet และ Intranet - สำหรับรองรับ NetBIOS บน TCP/IP เนื่องจาก DNS สามารถที่รองรับในระบบชื่อเก่าได้ ดังนั้นถ้าไม่มี DNS เราสามารถใช้ NetBIOS name resolution แทนได้
การไม่อนุญาต NeTBIOS เราสามารถที่กำหนดไม่ให้รองรับได้ โดยการเข้าไปกำหนดใน Internet Protocol (TCP/IP) properties > ปุ่ม Advanced > แท็บ WINS > เลือก Disable NetBIOS over TCP/IP ซึ่งเมื่อกำหนดแล้วเราจะใช้ My Network Place > Entire Networks > Microsoft Network เข้าไปดูชื่อเครื่องไม่ได้แต่เราป้องกันการโจมตีต่างๆที่ผ่านพอร์ต NetBIOS ได้
NetBIOS name เป็นชื่อที่ไม่ซ้ำกัน และแก้ปัญหาชื่อกับ IP address สามารถที่ใช้การบรอดคลาส โดยชื่อที่กำหนดไม่เกิน 15 อักขระ และมี 16 คุณลักษณะ โดยดีฟอลท์จะกำหนด 15 อันดับแรก และบิตที่ 16 เป็นการบอกลักษณะ
Host name เป็นชื่อที่ใช้ในการระบุ FQDN
Primary DNS suffix ทุกเครื่องใน Windows Server 2003 network จะกำหนด Primary DNS suffix ซึ่งจะถูกระบุบนแท็บ Computer Name หรือที่เรียกว่า Primary domain name และ domain name
Connection-specific DNS suffix เป็นการกำหนดชื่อต่อท้าย ที่กำหนดขึ้นเองในการ์ดเครือข่าย หรือเรียกว่า adapter DNS suffix
FQDN เป็นชื่อที่ไม่ซ้ำกันในเครือข่าย โดยใช้ Host name และ Primary DNS suffix แยกด้วยจุด
Full computer name เป็นชื่อเต็มของ FQDN ซึ่งแตกต่างกันตรงที่ว่าจะแยกกันระหว่ง host name และ primary DNS suffix
การเปรียบเทียบของ NetBIOS และ DNS Names NetBIOS Computer name DNS Computer Name
ชนิด ราบ ลำดับชั้น
ข้อบังคับอักขระ รองรับ Unicode, เลข, ช่องว่าง สัญลักษณ์ ! @ # $ % ^ & ' ) ( . - _ { } ~ A-Z,a-z, 0-9,- , จุด
ความยาว 15 อักขระ 63 ไบต์ต่อเลเบล และ 255 ไบต์ต่อ FQDN
บริการชื่อ WINS
NetBIOS broadcast
ไฟล์ Lmhosts DNS
ไฟล์ Hosts
การเปรียบเทียบขั้นตอนการแก้ปัญหาชื่อDNS แก้ปัญหาชื่อโดย ดูจากไฟล์ hosts > ใช้ DNSNetBIOS แก้ปัญหาชื่อโดย ดูจาก NetBIOS name cache > WINS > Broadcasts > และไฟล์ Lmhostsไฟล์ Hosts กับ Lmhosts เก็บไว้ที่ Windows\System32\drivers\etc
เราจำเป็นที่ต้องใช้ DNS เมื่อใด- เมื่อใช้โดเมน Windows 2000 และ Windows Server 2003 เนื่องจากตำแหน่งของ Active directory ใช้ DNS เป็นกลไกในการแจ้ง- สำหรับเข้าใช้ Internet และ Intranet - สำหรับรองรับ NetBIOS บน TCP/IP เนื่องจาก DNS สามารถที่รองรับในระบบชื่อเก่าได้ ดังนั้นถ้าไม่มี DNS เราสามารถใช้ NetBIOS name resolution แทนได้
การไม่อนุญาต NeTBIOS เราสามารถที่กำหนดไม่ให้รองรับได้ โดยการเข้าไปกำหนดใน Internet Protocol (TCP/IP) properties > ปุ่ม Advanced > แท็บ WINS > เลือก Disable NetBIOS over TCP/IP ซึ่งเมื่อกำหนดแล้วเราจะใช้ My Network Place > Entire Networks > Microsoft Network เข้าไปดูชื่อเครื่องไม่ได้แต่เราป้องกันการโจมตีต่างๆที่ผ่านพอร์ต NetBIOS ได้
การแก้ปัญหาการเชื่อมต่อ TCP/IP
พื้นฐานการแก้ปัญหาเราจะต้องดูตำแหน่งของปัญหา และเริ่มต้นตรวจสอบลำดับชั้นจากล่างขึ้นบนถ้ามีปัญหาในความผิดพลาดของเครื่องที่ระบุ ต้องตรวจสอบการกำหนดค่าหมายเลข IP Address, Subnet mask, Default Gateway และการกำหนดค่าอื่นๆที่เกี่ยวข้องโดยเราจะใช้เครื่องมือต่างๆดังนี้- IPconfig เป็นเครื่องมือที่ตรวจสอบหมายเลข และค่ากำหนดต่างๆเราดูรายละเอียดได้โดยใช้ Ipconfig /all ซึ่งถ้าเป็น 0.0.0.0 แสดงว่ามีปัญหา- การใช้ Network diagnostics เป็นเครื่องมือที่มีอยู่ใน Help and Support Center โดยเราคลิกไปที่ Scan Your System > Network diagnostics รองระบบทำการรวบรวมข้อมูล ค่าที่รวบรวมโดยทั่วไปจะมี- Internet Services ซึ่งมี IE, Outlook Express, Web proxy- Computer Information ซึ่งจะป็น Registry ระบบปฏิบัติการ และเวอร์ชั่น - Modem and Network adapters ซึ่งจะมีค่า Registry ที่เกี่ยวกับโมเด็ม การ์ดเครือข่าย และลูกข่ายเราสามารถที่กำหนดรายการเลือกเพิ่ม หรือควบคุมการตรวจสอบได้โดยการเช็กบ็อกซ์ออปชั่นและ Network Diagnostic สามารถจัดเก็บเป็นไฟล์ เพื่อให้ผู้อื่นช่วยในการวิเคราะห์ได้
Netdiag
เป็นคำสั่งที่อยู่ใน Command-line โดยหาได้จากซีดีรอม Windows Server 2003 ในตำแหน่ง \Support\tools เครื่องมือนี้จะใช้ตรวจสอบสิ่งต่างๆดังนี้ชื่อที่ทดสอบ รายละเอียด
NetCard Queries Test ตรวจสอบรายการของการกำหนดค่าการ์ดเครือข่าย เช่นที่อยู่ IP, Default gateway
Domain membership Test ตรวจสอบรายละเอียด Primary Domain รวมถึงบทบาทเครื่อง และ Domain GUID ซึ่งตรวจสอบ Netlogon เปิดหรือไม่ และเพิ่ม Primary domain ในรายการ Primary domain security identifier (SID)
NetBT Name Test ตรวจสอบ Workstation service name <00> หรือเครื่องลูกข่าย และตรวจสอบ Messenger service name<03> และ server service name<20> การใช้เหมือนกับ nbtstat -n
WINS Service Test ส่ง NetBT ในการค้นหากับ WINS server
DNS Test ตรวจสอบกับ DNS ได้ด้วยโดยจะตรวจสอบในรายการของ DNS ที่อยู่ใน Netlogon.dns ที่ลงทะเบียน และสามารถที่แก้ปัญหาได้โดยใช้ /fix
Bindings Test ดูรายการที่ผูกทั้งหมด รวมถึงกับชื่อขาที่ติดตั้งทั้งชื่อในรายการล่าง และบน ที่ปัจจุบันผูกใช้อยู่
WAN configuration test ตรวจสอบค่าสถานะของ Remote access connections ที่ทำงานอยู่
IP Security test ตรวจสอบค่า IP security ที่อนุญาต และแสดงว่าทำงานอยู่
เครื่องมืออื่นๆที่ใช้แก้ปัญหามีPing กับ Pathping เป็นการตวจสอบที่อยู่ IP ด้วยการทำงานในระดับชั้น ICMP การใช้งาน Ping มีขั้นตอนดังนี้- Ping local loopback
- Ping หมายเลขที่อยู่ในท้องถิ่นเดียวกัน- Ping ค่า Default gateway- Ping ที่อยู่ที่อื่นซึ่งถ้า Ping ไม่ได้ให้ตรวจสอบค่าดังนี้ - ค่าที่กำหนดในเครื่องประกอบด้วย IP address, Subnet mask และ Default gateway ถ้า Ping ด้วยชื่อก็ให้ตรวจสอบ DNS ด้วย- ตรวจสอบเครื่องปลายทางว่าเปิดอยู่หรือไม่การแก้ปัญหาด้วย Tracertเป็นคำสั่งที่ใช้ ICMP และส่งตอบกลับมาในแต่ละขั้นที่ผ่าน Gatewayการแก้ปัญหาด้วย ARP เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบการติดต่อ Arp cache ที่เครื่องสร้างตารางของ IP address กับ MAC addressการใช้ Telnetเพื่อตรวจสอบพอร์ตที่ทำงาน ดูว่ามีบริการทำงานอยู่หรือไม่
Netdiag
เป็นคำสั่งที่อยู่ใน Command-line โดยหาได้จากซีดีรอม Windows Server 2003 ในตำแหน่ง \Support\tools เครื่องมือนี้จะใช้ตรวจสอบสิ่งต่างๆดังนี้ชื่อที่ทดสอบ รายละเอียด
NetCard Queries Test ตรวจสอบรายการของการกำหนดค่าการ์ดเครือข่าย เช่นที่อยู่ IP, Default gateway
Domain membership Test ตรวจสอบรายละเอียด Primary Domain รวมถึงบทบาทเครื่อง และ Domain GUID ซึ่งตรวจสอบ Netlogon เปิดหรือไม่ และเพิ่ม Primary domain ในรายการ Primary domain security identifier (SID)
NetBT Name Test ตรวจสอบ Workstation service name <00> หรือเครื่องลูกข่าย และตรวจสอบ Messenger service name<03> และ server service name<20> การใช้เหมือนกับ nbtstat -n
WINS Service Test ส่ง NetBT ในการค้นหากับ WINS server
DNS Test ตรวจสอบกับ DNS ได้ด้วยโดยจะตรวจสอบในรายการของ DNS ที่อยู่ใน Netlogon.dns ที่ลงทะเบียน และสามารถที่แก้ปัญหาได้โดยใช้ /fix
Bindings Test ดูรายการที่ผูกทั้งหมด รวมถึงกับชื่อขาที่ติดตั้งทั้งชื่อในรายการล่าง และบน ที่ปัจจุบันผูกใช้อยู่
WAN configuration test ตรวจสอบค่าสถานะของ Remote access connections ที่ทำงานอยู่
IP Security test ตรวจสอบค่า IP security ที่อนุญาต และแสดงว่าทำงานอยู่
เครื่องมืออื่นๆที่ใช้แก้ปัญหามีPing กับ Pathping เป็นการตวจสอบที่อยู่ IP ด้วยการทำงานในระดับชั้น ICMP การใช้งาน Ping มีขั้นตอนดังนี้- Ping local loopback
- Ping หมายเลขที่อยู่ในท้องถิ่นเดียวกัน- Ping ค่า Default gateway- Ping ที่อยู่ที่อื่นซึ่งถ้า Ping ไม่ได้ให้ตรวจสอบค่าดังนี้ - ค่าที่กำหนดในเครื่องประกอบด้วย IP address, Subnet mask และ Default gateway ถ้า Ping ด้วยชื่อก็ให้ตรวจสอบ DNS ด้วย- ตรวจสอบเครื่องปลายทางว่าเปิดอยู่หรือไม่การแก้ปัญหาด้วย Tracertเป็นคำสั่งที่ใช้ ICMP และส่งตอบกลับมาในแต่ละขั้นที่ผ่าน Gatewayการแก้ปัญหาด้วย ARP เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบการติดต่อ Arp cache ที่เครื่องสร้างตารางของ IP address กับ MAC addressการใช้ Telnetเพื่อตรวจสอบพอร์ตที่ทำงาน ดูว่ามีบริการทำงานอยู่หรือไม่
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)